๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๙
ปีใหม่กับงานสนุกๆ
ปีใหม่ใกล้มาแล้ว มีงานสนุกๆอีกมากมายรออยู่ ใจจดจ่อกับงานที่รออยู่ข้างหน้าพร้อมอุดมการณ์อันยิ่งใหญ่ ของอดีตครูดีเด่น ตอนนี้เป็นศึกษานิเทศก์แล้วแต่ก็ยังสนุกกับงานที่ส่งผลโดยตรงกับเด็ก เพราะเด็กทุกคนเกิดมาเพื่อเก่ง ตอนนี้กำลังมีโปรเจคพาครูสร้างสื่อเพื่อให้นักเรียนได้ใช้งาน อยากให้ครูนำไปใช้งานจริงๆ เพราะผลงานของครูอยู่ที่การได้ใช้งานจริง ไม่ใช่แค่ทำเป็น ครูหลายคนหลงทางอยากได้แต่ความรู้เพื่อทำเป็นแล้วทำกองไว้ ซึ่งก็ไร้ค่าเพราะเด็กไม่ได้ใช้ หรือได้ใช้แต่ก็ไม่ได้เก็บผลอย่างถูกวิธี จึงไม่สามารถนำมาเป็นผลงานทางวิชาการได้เพราะไม่ได้ใช้หรือไม่ได้มีการวางแผนการใช้ที่ถูกต้องนั่นเอง เริ่มต้นใหม่ปีใหม่นี้นะ ให้เด็กได้ใช้สื่อที่สร้างขึ้น อย่างเป็นขั้นตอน ครูจะได้นำมาอ้างอิงเป็นผลงานทางวิชาการได้
๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๙
สร้างบทเรียนบนเว็บที่สวงษ์วิทยาคม
วันนี้ไปร่วมทำงานกับ อาจารย์สมปอง เอมรัตน์ เพื่อพาครูสร้างบทเรียนบนเว็บ หลายๆคนไม่เคยมีพื้นฐานด้านการเขียนเว็บมาก่อนแต่ทุกอย่างก็ผ่านไปได้ด้วยดี แม้หลายคนจะเคยชินกับการใช้เวิร์ดที่ดับเบิลคลิกไฟล์เพื่อเปิดมาแก้ไขก็ตาม ก็พยายามเปลี่ยนความเคยชินกับการทำงานแบบดับเบิลคลิกไฟล์ ไปเป็นคลิกขวา แล้วเลือกโปรแกรมสำหรับทำงาน สับสนบ้างกับโปรแกรมอ่านอย่างเดียวกับโปรแกรมสำหรับแก้ไขเว็บ ฝึกอีกนิดก็ใช้ได้แล้ว
วันนี้ทุกคนทำได้ จากจำนวนคน 8 คน ที่ไม่ได้เตรียมเนื้อหามาเลย ก็สามารถสร้างสื่อต้นแบบได้ 8 เรื่อง ภาพบรรยากาศแบบเป็นกันเอง ทุกคนทำงานอย่างมีความสุขไม่ยอมกินข้าวกินปลา นี่แหล่ะเสน่ห์ของการสร้างสื่อคอมพิวเตอร์
๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๙
ApacheและPHP5
เมื่อวานคุยกับศร เรื่องการทดลองใช้ SME cms แล้วทำการดาวน์โหลด SMEcms มาทดลองใช้
ลองเปิดโฟลเดอรดูเนื้อหาภายในและอ่านคู่มือการใช้จึงทราบว่า ต้องจำลองเครื่องให้เป็นเซิร์ฟเวอร์
การใช้งานบนลินุกซ์แบบที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้ ไม่ใช่เรื่องยากเลย เพียงแค่ติดตั้ง Apache และ PHP5
เพิ่มเติมก็เรียบร้อยแล้ว เพราะระบบปฏิบัติการลินุกซ์สามารถเพิ่มเติมบริการได้พร้อมทั้งให้บริการได้ทันที
เลยทำกรติดตั้งด้วย Synaptic เพราะง่ายดี มีตัวเลือกให้เลือก (เลือกทั้งสองรายการไว้แล้ว Apply ทีเดียว)
ทีนี้อยู่ในส่วนของการทดลอง ก็แค่เปิด บราวเซอร์แล้วพิมพ์ localhost ก็จะเข้าสู่ที่ติดตั้งเว็บแล้ว
แต่เอ..ถ้าจะสร้างห้องสำหรับทดลองงานหล่ะ..(ที่นี่อนุญาตให้เฉพาะ root เท่านั้นที่เขียนได้)
ขั้นตอนเพียงแค่เราแปลงร่างเป็น root ก็สร้างได้แล้ว เข้าทางเทอร์มินอลง่ายดี
พิมพ์อย่างนี้ $sudo su - ใส่รหัสผ่านก็เป็น root แล้ว
เข้าไปที่เว็บรูต #cd /var/www
สร้างโฟลเดอร์ #mkdir test (สมมติว่าชื่อ test แล้วกัน)
แล้วเปลี่ยนเจ้าของให้เป็นของเรา เราจึงจะใช้งานได้
#chown apidej test
แค่นี้เราก็จะเข้าไปใช้งานโฟลเดอร์ test ได้
ลองเปิดโฟลเดอรดูเนื้อหาภายในและอ่านคู่มือการใช้จึงทราบว่า ต้องจำลองเครื่องให้เป็นเซิร์ฟเวอร์
การใช้งานบนลินุกซ์แบบที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้ ไม่ใช่เรื่องยากเลย เพียงแค่ติดตั้ง Apache และ PHP5
เพิ่มเติมก็เรียบร้อยแล้ว เพราะระบบปฏิบัติการลินุกซ์สามารถเพิ่มเติมบริการได้พร้อมทั้งให้บริการได้ทันที
เลยทำกรติดตั้งด้วย Synaptic เพราะง่ายดี มีตัวเลือกให้เลือก (เลือกทั้งสองรายการไว้แล้ว Apply ทีเดียว)
ทีนี้อยู่ในส่วนของการทดลอง ก็แค่เปิด บราวเซอร์แล้วพิมพ์ localhost ก็จะเข้าสู่ที่ติดตั้งเว็บแล้ว
แต่เอ..ถ้าจะสร้างห้องสำหรับทดลองงานหล่ะ..(ที่นี่อนุญาตให้เฉพาะ root เท่านั้นที่เขียนได้)
ขั้นตอนเพียงแค่เราแปลงร่างเป็น root ก็สร้างได้แล้ว เข้าทางเทอร์มินอลง่ายดี
พิมพ์อย่างนี้ $sudo su - ใส่รหัสผ่านก็เป็น root แล้ว
เข้าไปที่เว็บรูต #cd /var/www
สร้างโฟลเดอร์ #mkdir test (สมมติว่าชื่อ test แล้วกัน)
แล้วเปลี่ยนเจ้าของให้เป็นของเรา เราจึงจะใช้งานได้
#chown apidej test
แค่นี้เราก็จะเข้าไปใช้งานโฟลเดอร์ test ได้
๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๙
ลินุกซ์ทะเล8.0เบต้า
ลินุกซ์ทะเล8.0 ออกเบต้าแล้ว
ดีใจจัง ยังไม่ได้ลอง แต่รู้สึกดีใจที่ในที่สุดเราก็มีเวอร์ชั่นใหม่
คิดว่าน่าจะมีคนใช้ลินุกซ์มากขึ้น
ตอนนี้ยังดาวน์โหลดไม่ได้แต่ก็เป็นกำลังใจ
มีอะไรใหม่ๆเยอะทีเดียวต้องลองแล้ว
การติดตั้งเป็นแบบ text ด้วย
แล้วยังมีอะไรที่เหมาะกับภาษาไทยด้วย
ดีใจจัง ยังไม่ได้ลอง แต่รู้สึกดีใจที่ในที่สุดเราก็มีเวอร์ชั่นใหม่
คิดว่าน่าจะมีคนใช้ลินุกซ์มากขึ้น
ตอนนี้ยังดาวน์โหลดไม่ได้แต่ก็เป็นกำลังใจ
มีอะไรใหม่ๆเยอะทีเดียวต้องลองแล้ว
การติดตั้งเป็นแบบ text ด้วย
แล้วยังมีอะไรที่เหมาะกับภาษาไทยด้วย
๑๔ ธันวาคม ๒๕๔๙
ssh บน Edubuntu 6.06
เมื่อคืนตกใจหมดนึกว่าเครื่อง Edubuntu6.06ที่บ้านจะแย่เสียแล้ว
ด้วย P III 700 RAM 128 ช้ามากๆ ทำงัยดี สมมติฐานเกิดขึ้นมากมาย เช่น
ฮาร์ดดิสมั้ง ความเร็วไม่รู้เท่าไหร่ แต่ขนาด 10 GB หรือ ว่าเพราะแรมน้อยไป
สิ่งที่พอทำได้คือ เปลี่ยนแรมหล่ะนะ ตกลงเพิ่มแรมเข้าไปอีก 128
เป็น 256 แต่ อ้าวใช้การไม่ได้ (คิดไว้แต่ต้นแล้ว) งั้นถอดออก
ใส่เพิ่มอีกแค่ 64 คงพอมั้ง แล้วก็ใช้ไม่ได้เหมือนเดิม บูสไม่ขึ้น
งั้นถอดออกหมดเหลือไว้เท่าเดิม แต่แล้วก็บูสไม่ขึ้นอีก โอ้ยทำงัยดี
งานของเด็กๆก็ยังอยู่ในเครื่อง เลยถอดแรมมาทำความสะอาดแล้วเสียบเข้าไปใหม่
ทำงานได้แฮะ งั้นย้ายข้อมูลไปอีกเครื่องดีกว่า ที่เสียบอุปกรณ์ดันอยู่ข้างหลังใช้ไม่สะดวก
งั้นใช้วิธี FTP ดีกว่าดูแล้วเท่ดี แต่ลงเพคเกจดันไม่ได้ซะนี่
งั้นใช้ shell ดีมั๊ย ดูจะโปรกว่า ว่าแล้วก็จัดการติดตั้งเพคเกจทั้งสองเครื่อง โดยใช้คำสั่ง
sudo apt-get install ssh
คอยไม่ถึงนาทีเสร็จแล้ว ลงทั้งสองเครื่องเลย
ต่อจากนั้นก็คัดลอกแฟ้มจากเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่งได้แล้วซิ
มีคนแนะนำว่าอย่างนี้
การคัดลอกไฟล์/โฟลเดอร์ จากเครื่องที่อยู่ไกลออกไปมายังเครื่องที่เรากำลังทำงาน
สมมุติว่าเครื่องอยู่ไกลออกไปมี ip 192.168.1.31
ชื่อผู้ใช้คือ user
spc -r user@192.168.1.31:/home/user/ชื่อไฟล์
ไฟล์จะถูกคัดลอกมาไว้ที่ current directory ที่เรากำลังทำงานอยู่
การคัดลอกไฟล์/โฟลเดอร์จากเครื่องที่เรากำลังทำงานไปยังเครื่องที่อยู่ไกลออกไป
สมมุติว่าเครื่องที่อยู่ไกลออกไปมี ip 192.168.1.31
ชื่อผู้ใช้คือ user
scp -r ชื่อไฟล์ user@192.168.1.31:/home/user/
เออดูโปรดีนะ ใช้วิธีพิมพ์ข้อความบนเทอร์มินอลซะด้วย
แล้วเด็กๆจะใช้เป็นมั๊ยนี่ แต่ก็ต้องลองหล่ะนะ
ด้วย P III 700 RAM 128 ช้ามากๆ ทำงัยดี สมมติฐานเกิดขึ้นมากมาย เช่น
ฮาร์ดดิสมั้ง ความเร็วไม่รู้เท่าไหร่ แต่ขนาด 10 GB หรือ ว่าเพราะแรมน้อยไป
สิ่งที่พอทำได้คือ เปลี่ยนแรมหล่ะนะ ตกลงเพิ่มแรมเข้าไปอีก 128
เป็น 256 แต่ อ้าวใช้การไม่ได้ (คิดไว้แต่ต้นแล้ว) งั้นถอดออก
ใส่เพิ่มอีกแค่ 64 คงพอมั้ง แล้วก็ใช้ไม่ได้เหมือนเดิม บูสไม่ขึ้น
งั้นถอดออกหมดเหลือไว้เท่าเดิม แต่แล้วก็บูสไม่ขึ้นอีก โอ้ยทำงัยดี
งานของเด็กๆก็ยังอยู่ในเครื่อง เลยถอดแรมมาทำความสะอาดแล้วเสียบเข้าไปใหม่
ทำงานได้แฮะ งั้นย้ายข้อมูลไปอีกเครื่องดีกว่า ที่เสียบอุปกรณ์ดันอยู่ข้างหลังใช้ไม่สะดวก
งั้นใช้วิธี FTP ดีกว่าดูแล้วเท่ดี แต่ลงเพคเกจดันไม่ได้ซะนี่
งั้นใช้ shell ดีมั๊ย ดูจะโปรกว่า ว่าแล้วก็จัดการติดตั้งเพคเกจทั้งสองเครื่อง โดยใช้คำสั่ง
sudo apt-get install ssh
คอยไม่ถึงนาทีเสร็จแล้ว ลงทั้งสองเครื่องเลย
ต่อจากนั้นก็คัดลอกแฟ้มจากเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่งได้แล้วซิ
มีคนแนะนำว่าอย่างนี้
การคัดลอกไฟล์/โฟลเดอร์ จากเครื่องที่อยู่ไกลออกไปมายังเครื่องที่เรากำลังทำงาน
สมมุติว่าเครื่องอยู่ไกลออกไปมี ip 192.168.1.31
ชื่อผู้ใช้คือ user
spc -r user@192.168.1.31:/home/user/ชื่อไฟล์
ไฟล์จะถูกคัดลอกมาไว้ที่ current directory ที่เรากำลังทำงานอยู่
การคัดลอกไฟล์/โฟลเดอร์จากเครื่องที่เรากำลังทำงานไปยังเครื่องที่อยู่ไกลออกไป
สมมุติว่าเครื่องที่อยู่ไกลออกไปมี ip 192.168.1.31
ชื่อผู้ใช้คือ user
scp -r ชื่อไฟล์ user@192.168.1.31:/home/user/
เออดูโปรดีนะ ใช้วิธีพิมพ์ข้อความบนเทอร์มินอลซะด้วย
แล้วเด็กๆจะใช้เป็นมั๊ยนี่ แต่ก็ต้องลองหล่ะนะ
๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๙
Edubuntu 6.06 อีกเครื่องแล้ว
วันนี้ทนไม่ได้กับไวรัสที่รุกรานซะจนลำคาญ
เด็กๆ เขาเลือกที่จะใช้ ลินุกซ์ เพราะเคยใช้ linux TLE มาก่อน
ก็เลยเปลี่ยนเป็น Edubuntu 6.06 ไปอีกเครื่อง
กลายเป็นว่าตอนนี้ใช้ Ubuntu 3 เครื่อง
Ubuntu 6.06 /1เครื่อง
Edubuntu 6.06 /2 เครื่อง
ส่วนคอมฯ Dell คงจะต้องคอย CD-ROM
หรือไม่ก็ปลดประจำการเช่นเดียวกับรุ่นพี่
486 DX2 66MHz , AMD K6 II 266MHz
และ AMD K6 II 400MHz
การติดตั้งบน P III 700 MHz RAM 128 ไม่พบปัญหาอะไร
ติดตั้งแบบ Text Mode อาจใช้เวลานานหน่อยเพราะแรมน้อย แต่ก็ OK
ส่วนการอับเดดวันนี้ช้าผิดปกติ อินเทอร์เน็ตช้ามาก
เด็กๆ เขาเลือกที่จะใช้ ลินุกซ์ เพราะเคยใช้ linux TLE มาก่อน
ก็เลยเปลี่ยนเป็น Edubuntu 6.06 ไปอีกเครื่อง
กลายเป็นว่าตอนนี้ใช้ Ubuntu 3 เครื่อง
Ubuntu 6.06 /1เครื่อง
Edubuntu 6.06 /2 เครื่อง
ส่วนคอมฯ Dell คงจะต้องคอย CD-ROM
หรือไม่ก็ปลดประจำการเช่นเดียวกับรุ่นพี่
486 DX2 66MHz , AMD K6 II 266MHz
และ AMD K6 II 400MHz
การติดตั้งบน P III 700 MHz RAM 128 ไม่พบปัญหาอะไร
ติดตั้งแบบ Text Mode อาจใช้เวลานานหน่อยเพราะแรมน้อย แต่ก็ OK
ส่วนการอับเดดวันนี้ช้าผิดปกติ อินเทอร์เน็ตช้ามาก
Ubuntu 7.04 ออกตัวทดลองแล้ว
เมื่อวานเข้าเว็บ Ubuntuclub แล้วเจอข่าวให้ดาวน์โหลด Ubuntu 7.04 "Feisty Fawn" ทดลองใช้งาน
เขาได้ให้ความหมายไว้ว่า "Feisty Fawn" หมายถึงกวาง 7.04 เขาว่ามาจาก 2007 และ 04 คือ เดือน 04
หรือเมษายน สรุปก็คือ ได้ทดลองใช้ก่อนเวอร์ชั่นจริงจะออก เกือบ 5 เดือน
ดาวน์โหลดจากลิงค์
http://cdimage.ubuntu.com/cdimage/releases/feisty/herd-1/feisty-desktop-i386.iso
วันพรุ่งนี้จะใช้เครื่องที่สำนักงานดาวน์โหลดตั้งแต่เช้าเลย คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 12 ชั่วโมง
เหมือนรุ่นก่อนๆ
เขาได้ให้ความหมายไว้ว่า "Feisty Fawn" หมายถึงกวาง 7.04 เขาว่ามาจาก 2007 และ 04 คือ เดือน 04
หรือเมษายน สรุปก็คือ ได้ทดลองใช้ก่อนเวอร์ชั่นจริงจะออก เกือบ 5 เดือน
ดาวน์โหลดจากลิงค์
http://cdimage.ubuntu.com/cdimage/releases/feisty/herd-1/feisty-desktop-i386.iso
วันพรุ่งนี้จะใช้เครื่องที่สำนักงานดาวน์โหลดตั้งแต่เช้าเลย คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 12 ชั่วโมง
เหมือนรุ่นก่อนๆ
๑๐ ธันวาคม ๒๕๔๙
กลับไปเป็น Edubuntu 6.06
กลับไปใช้ Edubuntu 6.06 อีกแล้ว เพราะ Ubuntu 6.10 บูตช้า ใจร้อนไม่อยากคอย
(ตอนติดตั้งก็มีปัญหาบ้าง คงเป็นสาเหตุ)
การติดตั้งครั้งนี้ได้ความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่องการแบ่งพาร์ติชั่นจากการ install บน Text mode
การติดตั้งครั้งนี้ไม่พบปัญหาอะไร ราบรื่นมากและใช้เวลาน้อย เครื่อง P III 933 RAM 256
คงจะยืดอายุให้ยาวนานขึ้น ระยะเวลาแค่ 2 วัน เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาระหว่าง Edubuntu 6.06 และ Ubuntu 6.10
ปัญหายังอยู่ที่การแสดงผล Firefox ์ คงต้องตามแก้ทุกยูสเซอร์
ใช้แบบหลายยูสเซอร์ให้เด็กๆเปลี่ยนเองคงยาก ให้ใช้อย่างเดียวไปก่อนแล้วค่อยแนะนำการจัดการทีหลัง
Edubuntu 6.06 แก้ไขเรื่อง Firefox ได้แล้ว ทำตามขั้นตอนบนเว็บที่เขียนไว้แล้ว
system>Administrator>Language support >ภาษาไทย
ตอนเข้าระบบให้กำหนดภาษาเป็นภาษาไทยก็เท่านั้น
เรื่องแฟลชเพลเยอร์เดี๋ยวนี้ติดตั้งได้ง่ายขึ้นแล้ว
ไม่เหมือนแต่ก่อนที่ต้องติดตั้งเอง
(ตอนติดตั้งก็มีปัญหาบ้าง คงเป็นสาเหตุ)
การติดตั้งครั้งนี้ได้ความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่องการแบ่งพาร์ติชั่นจากการ install บน Text mode
การติดตั้งครั้งนี้ไม่พบปัญหาอะไร ราบรื่นมากและใช้เวลาน้อย เครื่อง P III 933 RAM 256
คงจะยืดอายุให้ยาวนานขึ้น ระยะเวลาแค่ 2 วัน เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาระหว่าง Edubuntu 6.06 และ Ubuntu 6.10
ปัญหายังอยู่ที่การแสดงผล Firefox ์ คงต้องตามแก้ทุกยูสเซอร์
ใช้แบบหลายยูสเซอร์ให้เด็กๆเปลี่ยนเองคงยาก ให้ใช้อย่างเดียวไปก่อนแล้วค่อยแนะนำการจัดการทีหลัง
Edubuntu 6.06 แก้ไขเรื่อง Firefox ได้แล้ว ทำตามขั้นตอนบนเว็บที่เขียนไว้แล้ว
system>Administrator>Language support >ภาษาไทย
ตอนเข้าระบบให้กำหนดภาษาเป็นภาษาไทยก็เท่านั้น
เรื่องแฟลชเพลเยอร์เดี๋ยวนี้ติดตั้งได้ง่ายขึ้นแล้ว
ไม่เหมือนแต่ก่อนที่ต้องติดตั้งเอง
วันนี้กับคอมพ์เก่า
จะว่าไปคอมพ์เก่าก็ยังใช้งานได้ดี แต่ความมั่นใจลดลงเยอะ
เปิดตั้งแต่ 7 โมงเช้า กว่าจะปิดก็ปาเข้าไปเกือบ 6 ทุ่มแทบทุกเครื่อง
ใช้เวลา 1 วันเต็มๆ กับการเปลี่ยนระบบไปใช้ Opensource ทั้งเครื่อง
เริ่มจาก Edubuntu 6.06 จนกระทั่งเปลี่ยนไปเป็น Ubuntu 6.10
ตอนนี้ก็เป็น Ubuntu ซะ 2 เครื่อง แต่ก็คงไม่ครบทุกเครื่อง
เพราะที่โรงเรียนเขายังใช้วินโดวอยู่
๙ ธันวาคม ๒๕๔๙
เริ่มต้นกับ ubuntu 6.10
วันนี้ ติดตั้ง ubuntu 6.10 ใหม่บน P III 933 RAM 128 ตัวเดิม เพราะเปิด Edubuntu 6.06 ขึ้นมาแล้วมีปัญหาตอนอับเดด พอรีสตาร์ตเครื่องแล้วมีปัญหาเปิดไม่ขึ้น เครื่องคงแก่เกินไป หรือแรมน้อยเกินไป เลยเปลี่ยนไปลง Ubuntu 6.10 ตั้งแต่เช้า ก็ยังทำไม่ได้เพราะใจร้อน ช่วงเที่ยงครูเปิ๊ลโทรไปคุยด้วยเลยสอบถามปัญหา พบว่าเคยเจอปัญหาเหมือนกันที่ลงไม่ผ่านกับเครื่องที่มีแรมขนาดนี้ แต่จะไม่เกิดขึ้นถ้าใช้แรมมากกว่านี้ กลับมาจากไพรบึงเลยเพิ่มแรมเป็น 256 ก็สามารถติดตั้งได้ราบรื่นแต่ไม่สามารถติดตั้งผ่านระบบ text ได้ สมมติฐานอาจเป็นเพราะ HD ไม่ดีก็ได้จึงทำการแบ่งพาร์ติชั่นใหม่ แบ่งเป็น 3 พาร์ติชั่น แยกพาร์ติชั่นบ้านไว้ต่างหาก วิธีนี้ผ่านได้
แต่ไม่รู้ว่าใช้เวลาไปเท่าไรเพราะขั้นตอนติดตั้งก็ทิ้งเครื่องไว้ให้ติดตั้งเอง แล้วออกไปเดินเล่นรอบๆบ้าน ขนาดบ้านตัวเองยังไม่ค่อยได้เดินออกมานอกประตูบ้านเลย วันนี้พิเศษได้เดินรอบบ้าน กลับมาจึงเริ่มเปิดเครื่องใหม่ ....ใช้ได้ดีแล้วตอนนี้
แต่ไม่รู้ว่าใช้เวลาไปเท่าไรเพราะขั้นตอนติดตั้งก็ทิ้งเครื่องไว้ให้ติดตั้งเอง แล้วออกไปเดินเล่นรอบๆบ้าน ขนาดบ้านตัวเองยังไม่ค่อยได้เดินออกมานอกประตูบ้านเลย วันนี้พิเศษได้เดินรอบบ้าน กลับมาจึงเริ่มเปิดเครื่องใหม่ ....ใช้ได้ดีแล้วตอนนี้
เริ่มต้นกับ edubuntu 6.06
นี่เป็นครั้งแรกกับการใช้งานจริงบน Edubuntu 6.06
กว่าจะติดตั้งได้ก็ใช้เวลาประมาณ 6 ชั่วโมง นับตั้งแต่ 6 โมงเย็น เป็นต้นมา
(คืนชีพเครื่องคอม P III 933 RAM 128)
ไม่ใช่อะไรมากเพียงแค่ติดตั้งไม่ผ่าน
สมมติฐานเกิดขึ้นมากมายนับตั้งแต่แผ่นบกพร่องมั้ง (พึ่งได้รับจากเนเธอร์แลนสดๆร้อนๆ) เปลี่ยนไป 3 แผ่นก็ไม่ผ่าน ลองเชคแผ่นดู ก็ไม่มีข้อบกพร่อง
สมมติฐาน2 หรืออาจจะเป็นเพราะ เครื่องอ่านแผ่นไม่ดี งั้นเปลี่ยนเลย เปลี่ยนไป 3 ตัวก็ไม่ผ่าน
เอ....งั้นเกิดจากอะไร
สุดท้ายจึงมาตั้งสมมติฐานใหม่ ว่ากระบวนการทำงานเป็นอย่างไร เครื่องอ่านแผ่นแล้วเอาข้อมูลไปเก็บไว้ที่ไหนก่อนมั๊ย แล้วจึงติดตั้งลงบน HD .... RAM อยู่ในข่ายต้องสงสัยหรือเปล่า งั้นก็เปลี่ยน RAM ดู เพราะมี RAM สำรองอยู่
ผลที่ได้ คือ ฉลุยครับงานนี้ ไม่ติดขัดเลย สรุปว่า RAM น่าสงสัยที่สุดเพราะเก่ามากแล้ว
พอดูนาฬิกา เกือบตีหนึ่งซะแล้ว
สำเร็จแล้วก็ทดลองนี่หล่ะ
น่าใช้มาก พรุ่งนี้อาจเปลี่ยนเป็น 6.10 ก็ได้ เพราะแผ่นก็มีอยู่ แต่คิดอีกที แค่นี้ก็ถมเถ ไม่ต้องรุ่นใหม่ก็ได้
เพราะของเขาดีอยู่แล้ว
กว่าจะติดตั้งได้ก็ใช้เวลาประมาณ 6 ชั่วโมง นับตั้งแต่ 6 โมงเย็น เป็นต้นมา
(คืนชีพเครื่องคอม P III 933 RAM 128)
ไม่ใช่อะไรมากเพียงแค่ติดตั้งไม่ผ่าน
สมมติฐานเกิดขึ้นมากมายนับตั้งแต่แผ่นบกพร่องมั้ง (พึ่งได้รับจากเนเธอร์แลนสดๆร้อนๆ) เปลี่ยนไป 3 แผ่นก็ไม่ผ่าน ลองเชคแผ่นดู ก็ไม่มีข้อบกพร่อง
สมมติฐาน2 หรืออาจจะเป็นเพราะ เครื่องอ่านแผ่นไม่ดี งั้นเปลี่ยนเลย เปลี่ยนไป 3 ตัวก็ไม่ผ่าน
เอ....งั้นเกิดจากอะไร
สุดท้ายจึงมาตั้งสมมติฐานใหม่ ว่ากระบวนการทำงานเป็นอย่างไร เครื่องอ่านแผ่นแล้วเอาข้อมูลไปเก็บไว้ที่ไหนก่อนมั๊ย แล้วจึงติดตั้งลงบน HD .... RAM อยู่ในข่ายต้องสงสัยหรือเปล่า งั้นก็เปลี่ยน RAM ดู เพราะมี RAM สำรองอยู่
ผลที่ได้ คือ ฉลุยครับงานนี้ ไม่ติดขัดเลย สรุปว่า RAM น่าสงสัยที่สุดเพราะเก่ามากแล้ว
พอดูนาฬิกา เกือบตีหนึ่งซะแล้ว
สำเร็จแล้วก็ทดลองนี่หล่ะ
น่าใช้มาก พรุ่งนี้อาจเปลี่ยนเป็น 6.10 ก็ได้ เพราะแผ่นก็มีอยู่ แต่คิดอีกที แค่นี้ก็ถมเถ ไม่ต้องรุ่นใหม่ก็ได้
เพราะของเขาดีอยู่แล้ว
๘ ธันวาคม ๒๕๔๙
นึกว่า SIS เกลียด Ubuntu ซะแล้ว
วันนี้ใช้เวลาตั้งนานพยายาม ssh เข้าเซิร์ฟเวอร์ SIS ที่ติดตั้งใหม่
ยังงัยก็ยังเข้าไม่ได้ จนต้องไปนั่งทำหน้าเครื่อง เพียงแค่พิมพ์บรรทัดเดียวเท่านั้น (เสียฟอร์มหมด)
แปลกใจก็ตรงที่ ใช้ putty ดันใช้ได้นี่สิ น่าแปลกใจมาก แต่ก่อนแต่ไรไม่เคยเป็นอย่างนี้
หรือว่า SIS คงเกลียด Ubuntu แล้วซิ
มาทบทวนดูสิ่งที่เทอร์มินอลตอบข้อผิดพลาดให้มาก็ยังเดาอะไรไม่ถูก
พอ ssh ไปที่เซิร์ฟเวอร์อีเลิร์นนิ่งก็ผ่านฉลุย เอ..อะไรกันนี่ หรือเราไปทำอะไรผิดไว้ก็ไม่รู้
จากนั้นเลยทบทวนซ้ำจากข้อคอมเม้นต์ของเทอร์มินอลพบว่า
เออ ที่บ้านเรา(/home)มีโฟลเดอร์ที่มองไม่เห็นอยู่นะ (.ssh) ตามที่เทอร์มินองคอมเมนต์มาเลย
งั้นลองเข้าไปดูข้างในซิมีอะไร ว่าแล้วก็ สั่งเทอร์มินอลเลย
$cd .ssh แล้วลอง ls ดู อา..มี known_host จริงๆด้วย
แล้วไฟล์นี้เขามีไว้ทำไม คงบันทึกรายชื่อ host ที่เคย ssh เข้าไปมั๊ง
งั้นก็ลองแก้ไขดูหน่อยประไร เลย $cp known_host เป็นชื่ออื่นก่อน กันเหนียว
แล้ว $pico known_host ลบบรรทัดสุดท้ายออกเพราะว่าที่มีปัญหาก็คงเป็นโฮสต์สุดท้ายนี่แหล่ะ
เพราะไม่เคยไปเถลไถลที่ไหน เสร็จแล้วเซฟไฟล์ งั้นลอง ssh ดูอีกที
ผ่านฉลุย...เออ อย่างนี้ก็มีด้วย ไม่รู้ไปทำยังงัยให้ SIS เขาโกรธหล่ะ Ubuntu
ยังงัยก็ยังเข้าไม่ได้ จนต้องไปนั่งทำหน้าเครื่อง เพียงแค่พิมพ์บรรทัดเดียวเท่านั้น (เสียฟอร์มหมด)
แปลกใจก็ตรงที่ ใช้ putty ดันใช้ได้นี่สิ น่าแปลกใจมาก แต่ก่อนแต่ไรไม่เคยเป็นอย่างนี้
หรือว่า SIS คงเกลียด Ubuntu แล้วซิ
มาทบทวนดูสิ่งที่เทอร์มินอลตอบข้อผิดพลาดให้มาก็ยังเดาอะไรไม่ถูก
พอ ssh ไปที่เซิร์ฟเวอร์อีเลิร์นนิ่งก็ผ่านฉลุย เอ..อะไรกันนี่ หรือเราไปทำอะไรผิดไว้ก็ไม่รู้
จากนั้นเลยทบทวนซ้ำจากข้อคอมเม้นต์ของเทอร์มินอลพบว่า
เออ ที่บ้านเรา(/home)มีโฟลเดอร์ที่มองไม่เห็นอยู่นะ (.ssh) ตามที่เทอร์มินองคอมเมนต์มาเลย
งั้นลองเข้าไปดูข้างในซิมีอะไร ว่าแล้วก็ สั่งเทอร์มินอลเลย
$cd .ssh แล้วลอง ls ดู อา..มี known_host จริงๆด้วย
แล้วไฟล์นี้เขามีไว้ทำไม คงบันทึกรายชื่อ host ที่เคย ssh เข้าไปมั๊ง
งั้นก็ลองแก้ไขดูหน่อยประไร เลย $cp known_host เป็นชื่ออื่นก่อน กันเหนียว
แล้ว $pico known_host ลบบรรทัดสุดท้ายออกเพราะว่าที่มีปัญหาก็คงเป็นโฮสต์สุดท้ายนี่แหล่ะ
เพราะไม่เคยไปเถลไถลที่ไหน เสร็จแล้วเซฟไฟล์ งั้นลอง ssh ดูอีกที
ผ่านฉลุย...เออ อย่างนี้ก็มีด้วย ไม่รู้ไปทำยังงัยให้ SIS เขาโกรธหล่ะ Ubuntu
๗ ธันวาคม ๒๕๔๙
การติดตั้งฟอนต์วินโดว
เป็นอันว่าต้องเสียความบริสุทธิ์แล้วเพื่อให้ปริ้นต์ได้
คงเพียงระยะเวลาที่ยังแก้ไขปัญหาการปริ้นต์ไม่ได้เท่านั้น
ถ้ามีสมาชิกแก้ปัญหาได้คงไม่ต้องใช้วิธีนี้
ขั้นตอนการทำงาน ตามลำดับดังนี้
1.คัดลอกฟอนต์ของวินโดวจาก c:\WINDOWS\Fonts เก็บไว้ก่อน
2.ทำงานบนเทอร์มินอลโดยแปลงร่างเป็น root เพื่อสามารถเข้าใช้งานในส่วนสำคัญได้ ด้วยคำสั่ง
$sudo su - ผลคือ จะได้ root shell #
3. ตอนนี้ต้องรู้ไว้ว่าฟอนต์ของ ubuntu เก็บไว้ที่ /usr/share/fonts
เข้าไปทำงานอยู่ในโฟลเดอร์นี้โดยใช้คำสั่ง
# cd /usr/share/fonts
4.สร้างไดเรคทอรีสำหรับเก็บไฟล์ฟอนต์ ในที่นี้ใช้ชื่อว่า windows ด้วยคำสั่ง
#mkdir windows
5.คัดลอกฟอนต์วินโดวมาเก็บไว้ที่นี่ เนื่องจากเตรียมไฟล์ฟอนต์ไว้ที่บ้านของตัวเองในโฟลเดอร์ fwinเลยใช้คำสั่งอย่างนี้ #cp /home/....../fwin/ชื่อไฟล์ /usr/share/fonts/windows
(ความจริงตรงชื่อไฟล์ใช้* ก็ไม่น่ามีปัญหา แต่อย่าดีกว่าฝึกไว้จะได้ชำนาญ)
คัดลอกจนครบ แล้ว ls ดูเพื่อความแน่ใจ
6.ใช้คำสั่ง #mkfontdir
แล้วตรวจสอบโดย ls ดูจะพบไฟล์ fonts.dir
7.ถอยหลังขึ้นไปหนึ่งขั้นด้วยคำสั่ง #cd ..
ls ดูจะพบไฟล์ชื่อ fonts.cache-1
เปิดไฟล์นี้มาแก้ไข โดยคำสั่ง #pico fonts.cache-1
เติมคำต่อไปนี้ไว้ที่บรรทัดสุดท้าย
"windows" 0 ".dir"
เซฟไฟล์
8. ใช้คำสั่ง
#fc-cache -f -v
ต่อจากนั้นรอสักครู่ไม่รู้เขาทำอะไร
เพราะขั้นตอนทั้งหมดก็ลอกเขามา แต่ได้ผลจริงๆ
แค่นี้ก็เรียบร้อยใช้งานได้
คงเพียงระยะเวลาที่ยังแก้ไขปัญหาการปริ้นต์ไม่ได้เท่านั้น
ถ้ามีสมาชิกแก้ปัญหาได้คงไม่ต้องใช้วิธีนี้
ขั้นตอนการทำงาน ตามลำดับดังนี้
1.คัดลอกฟอนต์ของวินโดวจาก c:\WINDOWS\Fonts เก็บไว้ก่อน
2.ทำงานบนเทอร์มินอลโดยแปลงร่างเป็น root เพื่อสามารถเข้าใช้งานในส่วนสำคัญได้ ด้วยคำสั่ง
$sudo su - ผลคือ จะได้ root shell #
3. ตอนนี้ต้องรู้ไว้ว่าฟอนต์ของ ubuntu เก็บไว้ที่ /usr/share/fonts
เข้าไปทำงานอยู่ในโฟลเดอร์นี้โดยใช้คำสั่ง
# cd /usr/share/fonts
4.สร้างไดเรคทอรีสำหรับเก็บไฟล์ฟอนต์ ในที่นี้ใช้ชื่อว่า windows ด้วยคำสั่ง
#mkdir windows
5.คัดลอกฟอนต์วินโดวมาเก็บไว้ที่นี่ เนื่องจากเตรียมไฟล์ฟอนต์ไว้ที่บ้านของตัวเองในโฟลเดอร์ fwinเลยใช้คำสั่งอย่างนี้ #cp /home/....../fwin/ชื่อไฟล์ /usr/share/fonts/windows
(ความจริงตรงชื่อไฟล์ใช้* ก็ไม่น่ามีปัญหา แต่อย่าดีกว่าฝึกไว้จะได้ชำนาญ)
คัดลอกจนครบ แล้ว ls ดูเพื่อความแน่ใจ
6.ใช้คำสั่ง #mkfontdir
แล้วตรวจสอบโดย ls ดูจะพบไฟล์ fonts.dir
7.ถอยหลังขึ้นไปหนึ่งขั้นด้วยคำสั่ง #cd ..
ls ดูจะพบไฟล์ชื่อ fonts.cache-1
เปิดไฟล์นี้มาแก้ไข โดยคำสั่ง #pico fonts.cache-1
เติมคำต่อไปนี้ไว้ที่บรรทัดสุดท้าย
"windows" 0 ".dir"
เซฟไฟล์
8. ใช้คำสั่ง
#fc-cache -f -v
ต่อจากนั้นรอสักครู่ไม่รู้เขาทำอะไร
เพราะขั้นตอนทั้งหมดก็ลอกเขามา แต่ได้ผลจริงๆ
แค่นี้ก็เรียบร้อยใช้งานได้
ปริ้นเอ้าท์ได้สมบูรณ์แล้ว
หลังจากพยายามมานาน (หาข้อมูลการแก้ไขการปริ๊นท์เอ้าท์ บน ubuntu 6.06)บน hp1010
เมื่อวานมีคนแก้ปัญหาได้ วันนี้ทดลองดูแต่เช้า เออได้ผลจริงๆ้
วันนี้เลยต้องบันทึกไว้ เดี๋ยวลืม
วิธีการคือ ต้องยอมเสียความบริสุทธิ์บ้าง โดยติดตั้งฟอนต์ของวินโดวเพิ่มเติม ทำตามเว็บนี้
http://www.linuxsiam.com/view.php?topic_id=63
ใช้เวลาไม่นานก็เสร็จ จะว่าไปแล้วก็ติดปัญหาอยู่บ้างในตอนแรก เพราะความจำไม่ดีเท่าไหร่ ลืมไปว่า
จะใช้คำสั่งอะไรจึงจะได้ root shell จะใช้ su ก็ไม่ได้ผล ที่แท้ต้อง sudo -s -H
หรือ sudo su -
แล้วยังมีปัญหาอีกคือ ตอน cp ดันลืมบอกปลายทางซะอีก
ทีนี้เลยต้องบันทึกเพิ่มเติมไว้อีก กลัวลืม
เพราะไม่ค่อยได้ใช้คำสั่งมากนักในการทำงานบน desktop
ทีนี้ก็ไม่ต้องเปลี่ยนเวอร์ชั่นแล้ว เราจะโบราณ ใช้ ubuntu 6.06 ต่อไป
(ขนาด ubuntu ออกเวอร์ชั่นใหม่ทุก 6 เดือน นะยังอยากจะโบราณเลย เพราะขนาดโบราณยังเยี่ยมเลย)
เมื่อวานมีคนแก้ปัญหาได้ วันนี้ทดลองดูแต่เช้า เออได้ผลจริงๆ้
วันนี้เลยต้องบันทึกไว้ เดี๋ยวลืม
วิธีการคือ ต้องยอมเสียความบริสุทธิ์บ้าง โดยติดตั้งฟอนต์ของวินโดวเพิ่มเติม ทำตามเว็บนี้
http://www.linuxsiam.com/view.php?topic_id=63
ใช้เวลาไม่นานก็เสร็จ จะว่าไปแล้วก็ติดปัญหาอยู่บ้างในตอนแรก เพราะความจำไม่ดีเท่าไหร่ ลืมไปว่า
จะใช้คำสั่งอะไรจึงจะได้ root shell จะใช้ su ก็ไม่ได้ผล ที่แท้ต้อง sudo -s -H
หรือ sudo su -
แล้วยังมีปัญหาอีกคือ ตอน cp ดันลืมบอกปลายทางซะอีก
ทีนี้เลยต้องบันทึกเพิ่มเติมไว้อีก กลัวลืม
เพราะไม่ค่อยได้ใช้คำสั่งมากนักในการทำงานบน desktop
ทีนี้ก็ไม่ต้องเปลี่ยนเวอร์ชั่นแล้ว เราจะโบราณ ใช้ ubuntu 6.06 ต่อไป
(ขนาด ubuntu ออกเวอร์ชั่นใหม่ทุก 6 เดือน นะยังอยากจะโบราณเลย เพราะขนาดโบราณยังเยี่ยมเลย)
๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ฉากพร้อม ไฟพร้อม กล้องพร้อม แอคชั่น
ดูรายการ กบนอกกะลา รายการโปรด รายการหนึ่งที่มักไม่พลาดการดู
รายการดีๆอย่างนี้หายาก เลยเกิดแนวคิดใหม่อีกแล้ว คือ
พาครูจัดการเรียนโดยแทรกกิจกรรมการสร้างหนังสั้นเข้าไปด้วย
แหม สนุกออก ผู้เรียนได้ความรู้ ได้ความสนุกสนาน ได้สร้างสรรค์ ได้ทำงานเป็นทีม ได้วางแผนงาน
ก็ยังมีอีกแนวหนึ่งคือ เอนิเมชั่น ที่เคยพาทำบ้างแล้ว แต่ยังไม่สะใจ มันต้องสามมิติ
คิดถึงงานเอนิเมชั่นแบบที่กำลังฮิตและทำเงินแบบเป็นกอบเป็นกำ ถ้านักเรียนทำได้ นี่สิถึงจะเรียกได้ว่าสุดยอด
วันนี้เลยติดตั้ง Blender เผื่อว่าทำเป็นจะพาครูจัดสอนในโรงเรียนซะเลย (เด็กเขาเก่ง และมีอะไรให้เราประหลาดใจเสมอ)
การติดตั้งง่ายม๊ากก๊าก แค่ พิมพ์คำสั่งไม่กี่คำ
sudo apt-get install blender
คอยไม่ถึง 2 นาที ก็เรียบร้อย
เมื่อ ฉากพร้อม ไฟพร้อม กล้องพร้อม ต้องเริ่มหัดใช้ Blender ซะแล้วซิ (ยังใช้ไม่เป็น อิอิ)
รายการดีๆอย่างนี้หายาก เลยเกิดแนวคิดใหม่อีกแล้ว คือ
พาครูจัดการเรียนโดยแทรกกิจกรรมการสร้างหนังสั้นเข้าไปด้วย
แหม สนุกออก ผู้เรียนได้ความรู้ ได้ความสนุกสนาน ได้สร้างสรรค์ ได้ทำงานเป็นทีม ได้วางแผนงาน
ก็ยังมีอีกแนวหนึ่งคือ เอนิเมชั่น ที่เคยพาทำบ้างแล้ว แต่ยังไม่สะใจ มันต้องสามมิติ
คิดถึงงานเอนิเมชั่นแบบที่กำลังฮิตและทำเงินแบบเป็นกอบเป็นกำ ถ้านักเรียนทำได้ นี่สิถึงจะเรียกได้ว่าสุดยอด
วันนี้เลยติดตั้ง Blender เผื่อว่าทำเป็นจะพาครูจัดสอนในโรงเรียนซะเลย (เด็กเขาเก่ง และมีอะไรให้เราประหลาดใจเสมอ)
การติดตั้งง่ายม๊ากก๊าก แค่ พิมพ์คำสั่งไม่กี่คำ
sudo apt-get install blender
คอยไม่ถึง 2 นาที ก็เรียบร้อย
เมื่อ ฉากพร้อม ไฟพร้อม กล้องพร้อม ต้องเริ่มหัดใช้ Blender ซะแล้วซิ (ยังใช้ไม่เป็น อิอิ)
๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
GNUmericกับวิจัยในชั้นเรียน
วันนี้ตั้งใจไว้แล้วว่าจะเขียนเรื่องการใช้ GNUmericกับการวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งสถิติที่ใช้เป็นแบบง่ายๆ เช่น ใช้คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)เป็นต้น ส่วนเรื่องการทดสอบค่าที (T-test)เขียนไว้แล้ว
เริ่มจากเปิดโปรแกรม GNUmeric แล้วกรอกคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน
เลือกชุดข้อมูลที่ต้องการวิเคราะห์ โดยการคลุมเลือกช่องตาราง
เริ่มการวิเคราะห์ข้อมูล คลิกตามลำดับนี้
Tools>Statistical Analysis>Descriptive Statistic.. ตามรูปต่อไปนี้
หลังคลิกจะมีหน้าต่างให้กรอกข้อมูล หรือเลือกชุดข้อมูล แต่เราเลือกชุดข้อมูลแล้วตั้งแต่ต้น
ขั้นตอนนี้จึงแค่ ติ๊กที่ช่อง Labels ก็พอ แล้วคลิกตกลงเลย
หลังจากคลิกตกลงไม่ต้องรอเพราะโปรแกรมเขาคิดเร็วจริงๆ
ผลออกมายังงี้เลย
โปรแกรมแบบโอเพนซอร์ส ใช้แล้วติดใจไม่ต้องหาโปรแกรมอื่นๆให้ยากเลย
และที่ดีที่สุดคือ ชอบใจก็แจกได้ให้คนอื่นได้ใช้งานโปรแกรมดีๆ ถ้าแก้ไขเป็นและได้โปรแกรมที่ดีขึ้นก็แจกให้เพื่อนๆได้ใช้ด้วย เหมือนกับใครทำอาหารอร่อยแล้วแจกสูตรให้เพื่อนบ้านได้มีความสุขกับรสอาหารนั้นๆด้วยกัน สังคมนี้เสรีและมีความเอื้อเฟื้อต่อกัน
เริ่มจากเปิดโปรแกรม GNUmeric แล้วกรอกคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน
เลือกชุดข้อมูลที่ต้องการวิเคราะห์ โดยการคลุมเลือกช่องตาราง
เริ่มการวิเคราะห์ข้อมูล คลิกตามลำดับนี้
Tools>Statistical Analysis>Descriptive Statistic.. ตามรูปต่อไปนี้
หลังคลิกจะมีหน้าต่างให้กรอกข้อมูล หรือเลือกชุดข้อมูล แต่เราเลือกชุดข้อมูลแล้วตั้งแต่ต้น
ขั้นตอนนี้จึงแค่ ติ๊กที่ช่อง Labels ก็พอ แล้วคลิกตกลงเลย
หลังจากคลิกตกลงไม่ต้องรอเพราะโปรแกรมเขาคิดเร็วจริงๆ
ผลออกมายังงี้เลย
โปรแกรมแบบโอเพนซอร์ส ใช้แล้วติดใจไม่ต้องหาโปรแกรมอื่นๆให้ยากเลย
และที่ดีที่สุดคือ ชอบใจก็แจกได้ให้คนอื่นได้ใช้งานโปรแกรมดีๆ ถ้าแก้ไขเป็นและได้โปรแกรมที่ดีขึ้นก็แจกให้เพื่อนๆได้ใช้ด้วย เหมือนกับใครทำอาหารอร่อยแล้วแจกสูตรให้เพื่อนบ้านได้มีความสุขกับรสอาหารนั้นๆด้วยกัน สังคมนี้เสรีและมีความเอื้อเฟื้อต่อกัน
๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
GNUmeric บน Ubuntu
ติดตั้ง GNUmeric หลายวันแล้วโดยใช้ Synaptic ติดใจ GNUmeric มาตั้งแต่ติดตั้งอยู่บนลินุกซ์ทะเล 4.1a วันนี้ได้ทดลองใช้ GNUmeric อีกครั้งด้วยความรู้สึกที่ดีขึ้น คิดถึงคุณครูที่หลายๆคนยังใช้วินโดวอยู่แต่ยังกล้าๆกลัวๆกับการมาใช้ลินุกซ์ เพราะกังวลใจอยู่หลายเรื่อง วันนี้เลยเอาโปรแกรม GNUmeric มาเขียนเล่นๆพอสังเขปว่าโปรแกรมนี้ใช้ในงานวิจัยในชั้นเรียนได้ เช่น ใช้ในการยืนยันความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนกับหลังเรียนว่ามีการเปลี่ยนแปลงจริง ด้วยการทดสอบค่า ที (T-Test) ด้วยขั้นตอนง่ายๆ
เปิดโปรแกรม GNUmeric
กรอกคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน
คลิก Tools>statistic Analysis>Two Means>Pair Sample :T-Test..
เลือกข้อมูลคะแนนก่อนเรียนลงบนช่องบนโดยแดรกข้อมูลชุดก่อนเรียน
เลือกคะแนนหลังเรียนโดยแดรกชุดข้อมูลหลังเรียนในช่องล่าง
ข้อมูลตัวอย่างมีการเลเบล(เขียนหัวช่องเก็บข้อมูล) ก็ติ๊กช่องเลเบลด้วย
แล้วคลิกปุ่ม ตกลง ผลการวิเคราะห์จะออกมาทันทีทันใดเลย
เป็นอันว่า ใช้ได้ดีเหมือนเดิมเลย แล้วเดี๋ยวคอยใช้บนทะเล 8 อีกที
วันนี้เขียนคู่มือ NVU และ The GIMP เสร็จพอดี
เอาแบบง่ายๆ ให้คุณครูเขาใช้ พร้อมกับจะแจก Opensource ไปด้วย
ถึงแม้จะเป็นแบบง่ายๆ แต่ก็มีความสุขนะที่เขียนได้สำเร็จซะที
นี่หล่ะนะ ความสุขหาได้ทุกที่จริงๆ
เปิดโปรแกรม GNUmeric
กรอกคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน
คลิก Tools>statistic Analysis>Two Means>Pair Sample :T-Test..
เลือกข้อมูลคะแนนก่อนเรียนลงบนช่องบนโดยแดรกข้อมูลชุดก่อนเรียน
เลือกคะแนนหลังเรียนโดยแดรกชุดข้อมูลหลังเรียนในช่องล่าง
ข้อมูลตัวอย่างมีการเลเบล(เขียนหัวช่องเก็บข้อมูล) ก็ติ๊กช่องเลเบลด้วย
แล้วคลิกปุ่ม ตกลง ผลการวิเคราะห์จะออกมาทันทีทันใดเลย
เป็นอันว่า ใช้ได้ดีเหมือนเดิมเลย แล้วเดี๋ยวคอยใช้บนทะเล 8 อีกที
วันนี้เขียนคู่มือ NVU และ The GIMP เสร็จพอดี
เอาแบบง่ายๆ ให้คุณครูเขาใช้ พร้อมกับจะแจก Opensource ไปด้วย
ถึงแม้จะเป็นแบบง่ายๆ แต่ก็มีความสุขนะที่เขียนได้สำเร็จซะที
นี่หล่ะนะ ความสุขหาได้ทุกที่จริงๆ
๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ลงทะเบียนผู้ใช้ Ubuntu
วันนี้ไปลงทะเบียนที่ http://ubuntucounter.geekosophical.net ในฐานะผู้ใช้ Ubuntu แล้วได้หมายเลขประจำตัว # 9682 แล้วเขาก็ให้ตรามา 3 ตราเป็นเครื่องหมายประจำตัวไว้แปะตามที่ต่างๆ วันนี้เลยเอามาแปะไว้ที่นี่ก่อน
ตอนนี้กำลังใจจดใจจ่อรอคอยลินุกส์ทะเล 8 อยู่ ถ้าเขาเปิดตัวเมื่อไหร่จะรีบทดลองใช้ตอนนี้ก็ใช้ Ubuntu 6.06 รอไปก่อน ถ้าเขามีหมายเลขบอกแบบนี้ก็แจ๋ว จะติดไว้ที่คอมฯทุกตัวเลย
ตอนนี้กำลังใจจดใจจ่อรอคอยลินุกส์ทะเล 8 อยู่ ถ้าเขาเปิดตัวเมื่อไหร่จะรีบทดลองใช้ตอนนี้ก็ใช้ Ubuntu 6.06 รอไปก่อน ถ้าเขามีหมายเลขบอกแบบนี้ก็แจ๋ว จะติดไว้ที่คอมฯทุกตัวเลย
๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
การใช้โปรแกรมGIMP
GIMP เป็นโปรแกรมสำหรับตกแต่งภาพใช้งานได้ดี
ติดตั้งมาพร้อมกับ Ubuntu linux
เปิดโปรแกรมเหมือนกับโปรแกรมอื่นๆ
หลังเปิดโปรแกรมแล้วมีหน้าต่างแสดงออกมา 2 หน้าต่าง สามารถย้ายที่ได้ตามต้องการอยากวางไว้ตรงไหนก็ได้
จะสร้างชิ้นงานแค่คลิก file >new แล้วหน้าต่างกำหนดขนาดชิ้นงานก็แสดงออกมาให้เห็น
แล้วสามารถวางพื้นหลังพิมพ์ตัวหนังสือ (ดีจริงๆ พยัญชนะ สระก็ไม่ลอย)
ย้ายชิ้นส่วนแต่ละชั้นง่ายๆ วันหลังจะเขียนวิธีใช้แบบเต็มๆ
ไว้เป็นรางวัลให้กับชีวิตซะหน่อย
ติดตั้งมาพร้อมกับ Ubuntu linux
เปิดโปรแกรมเหมือนกับโปรแกรมอื่นๆ
หลังเปิดโปรแกรมแล้วมีหน้าต่างแสดงออกมา 2 หน้าต่าง สามารถย้ายที่ได้ตามต้องการอยากวางไว้ตรงไหนก็ได้
จะสร้างชิ้นงานแค่คลิก file >new แล้วหน้าต่างกำหนดขนาดชิ้นงานก็แสดงออกมาให้เห็น
แล้วสามารถวางพื้นหลังพิมพ์ตัวหนังสือ (ดีจริงๆ พยัญชนะ สระก็ไม่ลอย)
ย้ายชิ้นส่วนแต่ละชั้นง่ายๆ วันหลังจะเขียนวิธีใช้แบบเต็มๆ
ไว้เป็นรางวัลให้กับชีวิตซะหน่อย
๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
เขียนเว็บด้วยNVU
NVU อ่านว่า เอ็นวิว เป็นโปรแกรมสำหรับเขียนเว็บที่ใช้งานง่าย
หน้าตาดีมากๆ การติดตั้งก็ไม่ยาก ติดตั้งจากเน็ตเลย
การติดตั้งทำได้ทั้งโดยการใช้ synaptic และแบบ apt-get
การติดตั้งโดยใช้ synaptic
เลือก nvu
หลัง apply แล้วรออีกไม่นานก็เสร็จเรียบร้อย
แบบ apt-get
ง่ายที่สุด เพียงแค่พิมพ์ คำสั่งบรรทัดเดียว
sudo apt-get install nvu
โปรแกรมจะถามแค่พาสเวิร์ดสำหรับการ sudo เท่านั้น
รอสักครู่หลังจากการติดตั้งจบลงก็ใช้งานได้ทันที
หน้าตาโปรแกรมสวยงามจริงๆ
หน้าตาดีมากๆ การติดตั้งก็ไม่ยาก ติดตั้งจากเน็ตเลย
การติดตั้งทำได้ทั้งโดยการใช้ synaptic และแบบ apt-get
การติดตั้งโดยใช้ synaptic
เลือก nvu
หลัง apply แล้วรออีกไม่นานก็เสร็จเรียบร้อย
แบบ apt-get
ง่ายที่สุด เพียงแค่พิมพ์ คำสั่งบรรทัดเดียว
sudo apt-get install nvu
โปรแกรมจะถามแค่พาสเวิร์ดสำหรับการ sudo เท่านั้น
รอสักครู่หลังจากการติดตั้งจบลงก็ใช้งานได้ทันที
หน้าตาโปรแกรมสวยงามจริงๆ
วันเริ่มต้น
เริ่มต้นกับเว็บ Blogger วันที่ 12 พ.ย. 2549
ตั้งความหวังไว้ว่าจะใช้เป็นสถานที่สำหรับเก็บบันทึกประสบการณ์
และความทรงจำที่ดีๆ
ตั้งความหวังไว้ว่าจะใช้เป็นสถานที่สำหรับเก็บบันทึกประสบการณ์
และความทรงจำที่ดีๆ
การติดตั้งโปรแกรมเขียนCD
วันวานไปขอแผ่น ubuntu 6.10 ที่บ้านครูเปิ๊ลเห็นเขามีโปรแกรมเขียนแผ่น CD สวยๆบน ubuntu เลยอยากได้แต่ด้วยความที่จำชื่อโปรแกรม (Package) ไม่ค่อยได้เลยต้องสืบค้นหาชื่ออยู่เป็นนานสองนาน จำไม่ได้ว่าเป็น k3d หรือ k3b ถ้าไม่เขียนไว้คงจะลืมอีก ที่แท้คือ k3b (k3d เป็นโปรแกรมทำนองเดียวกันกับ blender มีโอกาสจะลองใช้ดู)
ขั้นตอนการติดตั้งทำได้ทั้งแบบ apt-get และSynaptic
การติดตั้งโดยใช้ synaptic
ขั้นแรกเปิด Synaptic แล้ว mark ที่ตำแหน่งของ k3b
หลังจากทำการ apply จะปรากฏกล่องข้อความอย่างนี้
ต่อจากนั้นก็คลิกเริมใช้ กระบวนการติดตั้งก็จะเริ่มขึ้น ใช้เวลาไม่นาน
เสร็จแล้วการติดตั้ง ปิดหน้าต่างนี้แล้วเริ่มใช้งานได้ หน้าตาของโปรแกรมสวยดี สมกับที่อยากได้เลย
ขั้นตอนการติดตั้งทำได้ทั้งแบบ apt-get และSynaptic
การติดตั้งโดยใช้ synaptic
ขั้นแรกเปิด Synaptic แล้ว mark ที่ตำแหน่งของ k3b
หลังจากทำการ apply จะปรากฏกล่องข้อความอย่างนี้
ต่อจากนั้นก็คลิกเริมใช้ กระบวนการติดตั้งก็จะเริ่มขึ้น ใช้เวลาไม่นาน
เสร็จแล้วการติดตั้ง ปิดหน้าต่างนี้แล้วเริ่มใช้งานได้ หน้าตาของโปรแกรมสวยดี สมกับที่อยากได้เลย
๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
การอับเกรดubuntu6.06เป็น6.10
การอับเกรดubuntu 6.06LTS (dapper) เป็น 6.10 (edgy)
มีขั้นตอนการทำงาน 2 รูปแบบ คือ แบบกราฟิก และ apt-get
1. แบบกราฟิก (GUI)
เปิดเทอร์มินอลแล้วพิมพ์คำสั่งต่อไปนี้
gksu “update-manager -c ”
แล้วจะพบหน้าต่างสำหรับกรอกพาสเวิร์ดผู้มีสิทธิ์ sudo เมื่อเติมพาสเวิร์ดแล้ว ก็สามารถปรับปรุงระบบได้
ขั้นตอนต่อจากนั้นหยุดกลางคันไม่ได้ ต้องเตรียมใจให้ดีก่อนทำงาน
2. แบบที่สองเป็นแบบ apt-get (ขั้นตอนต่อไปนี้ลอกเขามาทั้งดุ้น)
Using apt-get
lsb_release -a
คำตอบที่ได้จะเป็นทำนองนี้
Distributor ID: Ubuntu
Description: Ubuntu edgy
Release: 6.10
Codename: edgy
มีขั้นตอนการทำงาน 2 รูปแบบ คือ แบบกราฟิก และ apt-get
1. แบบกราฟิก (GUI)
เปิดเทอร์มินอลแล้วพิมพ์คำสั่งต่อไปนี้
gksu “update-manager -c ”
แล้วจะพบหน้าต่างสำหรับกรอกพาสเวิร์ดผู้มีสิทธิ์ sudo เมื่อเติมพาสเวิร์ดแล้ว ก็สามารถปรับปรุงระบบได้
ขั้นตอนต่อจากนั้นหยุดกลางคันไม่ได้ ต้องเตรียมใจให้ดีก่อนทำงาน
2. แบบที่สองเป็นแบบ apt-get (ขั้นตอนต่อไปนี้ลอกเขามาทั้งดุ้น)
Using apt-get
Edit your /etc/apt/sources.list as root. Change every occurrence of dapper to edgy.
Use any prefered editor. If you have a CD-ROM line in your file, then remove it.
sudo vi /etc/apt/sources.list
or
use the following Simple command
sudo sed -e ’s/\sdapper/ edgy/g’ -i /etc/apt/sources.list
Now you need to update the source list using the following command
sudo apt-get update
Upgrade using the following command
sudo apt-get dist-upgrade
Double check your process was finished properly using the following commd
sudo apt-get -f installsudo dpkg --configure -a
Now you need to Reboot your machine to take your new ubuntu 6.10 installation to effect all changes.
I hope you will enjoy your new Ubuntu Edgy Eft
lsb_release -a
คำตอบที่ได้จะเป็นทำนองนี้
Distributor ID: Ubuntu
Description: Ubuntu edgy
Release: 6.10
Codename: edgy
การปรับขนาดของภาพด้วยgThumb
วันนี้มีคำถามในใจอยู่ว่าเมื่อจับภาพหน้าจอได้แล้วภาพที่ได้มีขนาดใหญ่เกินกว่าที่จำเป็นจะต้องใช้แล้วจะปรับขนาดให้เล็กลงได้อย่างไร (ขนาดที่ว่านี้คือขนาดของไฟล์และขนาดของภาพที่มีสัดส่วนแปรผันไปด้วยกัน) พอดีครูเปิ๊ลดาวน์โหลด ubuntu 6.10 ได้สำเร็จเลยต้องไปชื่นชมหน่อยแล้วได้ทดลองใช้เห็นว่ามีเพคเกจต่างๆเพิ่มมากขึ้น คงถึงคราวต้องเปลี่ยนเป็น 6.10 บ้างแล้ว คำถามที่ยังติดอยู่ในใจคือปรับขนาดภาพทำอย่างไร ทุกครั้งที่จะดูภาพมักจะดับเบิลคลิกที่ภาพจึงไม่เห็นเมนูของการปรับขนาดภาพ จึงต้องเปลี่ยนนิสัยการเปิดภาพโดยใช้วิธีการเปิดภาพโดยใช้โปรแกรม gThumb (อาจใช้วิธีการคลิกขวาก็ได้)แล้วจะพบหน้าต่างต่อไปนี้
้ที่แถบคำสั่งจะพบเมนู รูปภาพ คลิกที่นี่เมนูจะคลี่ออกมาดังภาพ
เมื่อคลิกที่แถบคำสั่ง ปรับขนาด จะพบกล่องโต้ตอบ ให้เราแก้ไขขนาดได้ตามต้องการ ดังภาพต่อไปนี้
..ปล่อยให้เป็นเส้นผมบังภูเขาอยู่ซะนาน
เกือบถามบนเว็บบอร์ดแล้วเชียว
้ที่แถบคำสั่งจะพบเมนู รูปภาพ คลิกที่นี่เมนูจะคลี่ออกมาดังภาพ
เมื่อคลิกที่แถบคำสั่ง ปรับขนาด จะพบกล่องโต้ตอบ ให้เราแก้ไขขนาดได้ตามต้องการ ดังภาพต่อไปนี้
..ปล่อยให้เป็นเส้นผมบังภูเขาอยู่ซะนาน
เกือบถามบนเว็บบอร์ดแล้วเชียว
โปรแกรมจับภาพหน้าจอ
โปรแกรมจับภาพหน้าจอบน ubuntu เดิมใช้การจับภาพหน้าจอที่มีมาพร้อมกับ ubuntu 6.06 LTS วันนี้ไปโพสต์คำถามไว้ที่ www.ubuntuclub.com เพราะอยากได้ package สำหรับการจับภาพบนหน้าจอเฉพาะพื้นที่ที่ต้องการ สมาชิกที่ ubuntuclub (rooney) แนะนำวิธีการติดตั้ง packageที่มีชื่อว่า ksnapshot โดยวิธีการ apt-get ด้วยคำสั่งดังนี้
#apt-get install ksnapshot
ใช้เวลาในการ get พอสมควร เมื่อการติดตั้งสำเร็จทุกอย่างก็พร้อมสำหรับการทำงาน เมื่อทดลองใช้ ksnapshot แล้วพบว่าใช้งานได้ดี เลยใช้ทั้งสองโปรแกรมประกอบกัน
#apt-get install ksnapshot
ใช้เวลาในการ get พอสมควร เมื่อการติดตั้งสำเร็จทุกอย่างก็พร้อมสำหรับการทำงาน เมื่อทดลองใช้ ksnapshot แล้วพบว่าใช้งานได้ดี เลยใช้ทั้งสองโปรแกรมประกอบกัน
บ้านในวันนี้
การftpผ่านport21บนsis5.0
การ ftp ผ่านพอร์ต 21 ขั้นตอนมีดังนี้
1. เพิ่มพอร์ต 21
2. แก้ไขไฟล์ /etc/sysconfig/iptables-config
บรรทัดที่แก้ไข
IPTABLES_MODULES=""
แก้เป็น
IPTABLES_MODULES="ip_nat_ftp"
1. เพิ่มพอร์ต 21
2. แก้ไขไฟล์ /etc/sysconfig/iptables-config
บรรทัดที่แก้ไข
IPTABLES_MODULES=""
แก้เป็น
IPTABLES_MODULES="ip_nat_ftp"
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)